ชื่ออักษรไทย มุกดาหาร
ชื่ออักษรโรมัน Mukdahan
ผู้ว่าราชการ นายสรสิทธิ์ ฤทธิ์สรไกร ตั้งแต่ พ.ศ. 2558
ต้นไม้ประจำจังหวัด ช้างน้าว
ดอกไม้ประจำจังหวัด ช้างน้าว
ข้อมูลสถิติ พื้นที่ 4,339.830 ตร.กม.
ประชากร 346,016 คน
ความหนาแน่น 79.73 คน/ตร.กม.
ชื่ออักษรไทย มุกดาหาร
ชื่ออักษรโรมัน Mukdahan
ผู้ว่าราชการ นายสรสิทธิ์ ฤทธิ์สรไกร ตั้งแต่ พ.ศ. 2558
ต้นไม้ประจำจังหวัด ช้างน้าว
ดอกไม้ประจำจังหวัด ช้างน้าว
ข้อมูลสถิติ พื้นที่ 4,339.830 ตร.กม.
ประชากร 346,016 คน
ความหนาแน่น 79.73 คน/ตร.กม.
หอแก้วสูงเสียดฟ้า ผาเทิบแก่งกะเบา แปดเผ่าชนพื้นเมือง ลือเลื่องมะขามหวาน กลองโบราณล้ำเลิศ ถิ่นกำเนิดลำผญา ตระการตาชายโขง เชื่อมโยงอินโดจีน
แบ่งการปกครองออกเป็น 7 อำเภอ 53 ตำบล และ 493 หมู่บ้าน
ประกอบด้วย 1.อำเภอเมืองมุกดาหาร 2.อำเภอนิคมคำสร้อย 3.อำเภอดอนตาล 4.อำเภอดงหลวง 5.อำเภอคำชะอี 6.อำเภอหว้านใหญ่ 7.อำเภอหนองสูง
แบ่งการปกครองส่วนท้องถิ่น ดังนี้
เทศบาลเมือง 1 แห่ง
เทศบาลตำบล 23 แห่ง
องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง
องค์การบริหารส่วนตำบล 29 แห่ง
ศูนย์ราชการ ที่ตั้ง ศาลากลางจังหวัดมุกดาหาร ถนนวิวิธสุรการ ตำบลมุกดาหารอำเภอเมืองมุกดาหาร จังหวัดมุกดาหาร 49000
โทรศัพท์ (+66) 0 4261 1330
เว็บไซต์ http://www.mukdahan.go.th
ตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 ซึ่งมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2550 ได้กล่าวถึงเหตุผลความจำเป็นที่ต้องมีการปรับปรุงระบบการบริหารราชการในราชการบริหารส่วนภูมิภาคให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลที่มุ่งเน้นการจัดองค์กรภาครัฐให้สอดคล้องกับทิศทางการนำพาประเทศไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน และเพื่อให้การบริหารงานแบบบูรณาการในจังหวัดบรรลุผล โดยให้มีการปรับปรุงอำนาจการดำเนินการของจังหวัด การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและการจัดทำงบประมาณของจังหวัดให้เหมาะสมยิ่งขึ้น
ตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 ซึ่งมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2550 ได้กล่าวถึงเหตุผลความจำเป็นที่ต้องมีการปรับปรุงระบบการบริหารราชการในราชการบริหารส่วนภูมิภาคให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลที่มุ่งเน้นการจัดองค์กรภาครัฐให้สอดคล้องกับทิศทางการนำพาประเทศไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน และเพื่อให้การบริหารงานแบบบูรณาการในจังหวัดบรรลุผล โดยให้มีการปรับปรุงอำนาจการดำเนินการของจังหวัด การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและการจัดทำงบประมาณของจังหวัดให้เหมาะสมยิ่งขึ้น
ตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 ซึ่งมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2550 ได้กล่าวถึงเหตุผลความจำเป็นที่ต้องมีการปรับปรุงระบบการบริหารราชการในราชการบริหารส่วนภูมิภาคให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลที่มุ่งเน้นการจัดองค์กรภาครัฐให้สอดคล้องกับทิศทางการนำพาประเทศไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน และเพื่อให้การบริหารงานแบบบูรณาการในจังหวัดบรรลุผล โดยให้มีการปรับปรุงอำนาจการดำเนินการของจังหวัด การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและการจัดทำงบประมาณของจังหวัดให้เหมาะสมยิ่งขึ้น