ภาคใต้ฝั่งอันดามัน
ภาคใต้ฝั่งอันดามัน
ระนอง
โครงการสร้างความเข้มแข็งภาคพลเมืองโดยใช้กลไกสภาพลเมืองจังหวัดระนอง
ยุทธศาสตร์ที่ 1 กรมคุ้มครองสิทธิ เสรีภาพ เสริมสร้างความเข้มแข็งของภาคประชาสังคม
ยุทธศาสตร์ที่ 2 เสริมสร้างวัฒนธรมมทางการเมืองแบบประชาธิปไตย และการมีส่วนร่วมทางการเมือง
1.เสริมสร้างความเข้มแข็งของพลเมืองและสิทธิชุมชน
2. สร้างกลไกการปรึกษาหารือสาธารณะ
3.เสริมสร้างความรู้ทางการเมืองแก่พลเมือง
4.เสริมสร้างประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือ
5.การเสริมสร้างประชาธิปไตยทางตรง
300,000 บาท
นายนิตย์
นายวิทยา
นางสาวสุภาภรณ์
นายบุญเลื่อน
ดาบตำรวจประนอม
นางคะนึงนิจ
นายนนทวี
นายปรีชา
นายศักดาวุธ
นายวัชรินทร์
นายมารี
นายคงกฤษ
นายวันปิยะ
นายไพบูลย์
นางกมลวรรณ
นายสัญชาติ
อุ่ยเต็กเค่ง
วิริยพงศ์
ณ นคร
พรหมประทานกุล
รอดแคล้ว
เกตุแก้ว
เขตจำนันท์
หนูน้อย
ศักดิเศรษฐ์
เอกดำรง
ชูดวง
ฉัตรมาลีรัตน์
รุ่งเรือง
ภาสะเตมีย์
บุญญวงศ์
จีนพรัด
ประธานคณะทำงาน
รองประธานคณะทำงาน
คณะทำงาน
คณะทำงาน
คณะทำงาน
คณะทำงาน
คณะทำงาน
คณะทำงาน
คณะทำงาน
คณะทำงาน
คณะทำงาน
คณะทำงาน
คณะทำงาน
คณะทำงานและเหรัญญิก
คณะทำงานและผู้ช่วยเหรัญญิก
คณะทำงานและเลขานุการ
1. เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเมืองภาคพลเมืองรวมถึงทัศนคติที่ดีกับประชาชน
2. เพื่อส่งเสริม “จิตสำนึกพลเมือง”หรือ”จิตสำนึกสาธารณะ”และการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน
3. เพื่อพัฒนาสภาพลเมืองสู่การสร้างพลเมืองที่มีความสามารถเป็นทางสังคมได้อย่างมีคึณภาพ
เป้าหมายเชิงปริมาณ จากพื้นที่ 2 อำเภอ 3 ตำบล ตำบลละ 20 คน รวมทั้งสิ้น 60 คน รายละเอียดดังนี้ 1.อำเภอเมือง 2 ตำบ ได้แก่ ตำบลราชกูด และตำบลเขานิเวศน์ 2. อำเภอกระบุรี ได้แก่ ตำบล จ.ป.ร. เป้าหมายเชิงคุณภาพ ประชาชนเกิดองค์ความรู้ ความเข้าใจ การเมืองภาคพลเมือง มีทัศนคติ และมีทักษะในการอยู่ร่วมกันในสังคมตามวิถีประชาธิปไตย มีจิตสำนึกพลเมือง เกิดการมีส่วนร่วมทางการเมือง และได้รับการพัฒนาสภาพลเมือง อันจะนำไปสู่การสร้างพลเมืองที่มีความสามารถ เป็นพลังสังคมได้อย่างมีคุณภาพ ด้วยกระบวนการของสภาพลเมือง กลุ่มเป้าหมาย 3 ตำบล -อาสาสมัครคุมประพฤติ ตำบลละ 3 คน จำนวน 9 คน -ผู้แทนท้องที่/ผู้แทนท้องถิ่น ตำบลละ 7 คน จำนวน 21 คน -ครูและนักเรียน กศน.เมืองระนอง/ต.ราชกูด/ต.จ.ป.ร. จำนวน 30 คน -คณะทำงาน คปจ.ระนอง/ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 12 คน -ผู้ประสานงานและบุคคลช่วยงาน จำนวน 3 คน รวมทั้งสิ้น 75 คน
1.ร้อยละ 90 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ ความเข้าใจการเมืองภาคพลเมือง มีทัศนคติที่ดีมีจิตสำนึกพลเมือง
2.ร้อยละ 90 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีส่วนร่วมสวมทางการเมืองโดยการเข้าร่วมเวทีการเรียนรู้ และระดมความคิดเห็น เพื่อนำไปสู่การหาแนวทาง ในการแก้ไขปัญหาภายในจังหวัด ด้วยกระบวนการของสภาพลเมืองจังหวัดระนอง
1.ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงาน
2.เขียนโครงการเสนอสภาพัฒนาการเมืองผู้มีอำนาจอนุมัติ
3.กำหนดกิจกรรม และจัดทำแผนปฏิบัติการ
4.ดำเนินงานตามโครงการ
5.การประชาสัมพันธ์โครงการ
6.นิเทศ ติดตาม และการประเมินผลการจัดกิจกรรม
7.สรุปและรายงานผล
1 มกราคม 2559 – 31 สิงหาคม 2559
1.สังเกตพฤติกรรมผู้เข้าร่วมกิจกรรม
2.ใช้แบบสอบถามการประเมินผลโครงการ
3.เอกสารรายงานสรุปผลการดำเนินงาน
1.ประชาชนเกิดความรู้ ความเข้าใจ การเมืองภาคพลเมือง มีทัศนคติที่ดี และมีทักษะในการอยู่ร่วมกันในสังคมตามวิถึประชาธิปไตย
2.ประชาชนเกิด “จิตสำนึกพลเมือง” หรือ “จิตสำนึกสาธารณะ” และมีส่วนร่วมทาง การเมือง อันจะนำไปสู่ความเข้มแข็งทางการเมืองภาคพลเมืองต่อไป
3.เกิดความเข้มแข็งทางการเมืองภาคพลเมืองต่อไป