ภาคใต้ชายแดน
ภาคใต้ชายแดน
สงขลา
โครงการสภาพลเมืองสู่การจัดการตนเองทางด้านการเมืองภาคพลเมือง
ไม่ระบุ
ไม่ระบุ
300,000 บาท
นายทวีป
นายบรรเจต
นายสินธพ
นายสามารถ
นางชัชชญา
นางจรรยา
นายอาคม
นางจินตนา
นายเชิดเกียรติ
นายจรัส
นายคณาธิป
นางสิริน
นายนิมิต
นายณฐพงศ์
นายปาฏิหาริย์
แก้วยอด
นะแส
อินทรัตน์
สุขบรรจง
ไชยถาวร
สำราญ
ประสมสุข
จิโนวัฒน์
เมธีลักษณ์
ชุมปาน
บุญญารัตน์
ชีพชัยอิสสระ
แสงเกตุ
จิตรนิรัตน์
บุญรัตน์
ประธานคณะทำงาน
รองประธานคณะทำงาน
คณะทำงาน
คณะทำงาน
คณะทำงาน
คณะทำงาน
คณะทำงาน
คณะทำงาน
คณะทำงาน
คณะทำงาน
คณะทำงาน
คณะทำงาน
คณะทำงาน
คณะทำงาน
คณะทำงานและเลขานุการ
1.เพื่อให้เกิดสภาพลเมืองระดับอำเภอ ที่มีความเข้มแข็ง
2.เพื่อส่งเสริมการบูรณาการระดับอำเภอ สู่ความปรองดอง
3.เพื่อเปิดพื้นที่ให้เป็นเวทีกลางของทุกภาคส่วน
4.เพื่อเป็นช่องทาง ให้สภาพลเมืองมีส่วนร่วม กับการร่างรัฐธรรมนูญ
5.เพื่อส่งเสริมการนำแผนพัฒนาการเมือง สู่การปฏิบัติ
6. เพื่อให้สภาพลเมืองอำเภอ ในจังหวัดสงขลามีส่วนร่วม กับการจัดทำแผนพัฒนาการเมืองฉบับที่ 2
เกิดสภาพลเมืองที่เป็นรูปธรรมอย่างน้อย 10 สภา (อำเภอ)
1.สภาพลเมือง 10 สภา สามารถจัดการตนเองให้เป็นเวทีกลางของประชาชน
2.สภาพลเมืองร่วมเป็นเจ้าของแผนพัฒนาการเมืองฉบับที่ 2 ได้จริง
3.สภาพลเมืองอำเภอเป็นเวทีกลาง ในการรณรงค์ เผยแพร่ ปฏิรูปประเทศไทยได้จริง
1.จัดประชุมสัมมนา ถอดบทเรียน เวทีพลเมือง โดย คปจ.สงขลา และศูนย์พัฒนาการเมือง
2.จัดเวทีถอดบทเรียน การขับเคลื่อนสภาพลเมือง โดยคณะวิทยากรกระบวนการ และผู้แทนเข้าร่วม เวทีในปี 58 จำนวน 20 คน
3.ประเมินติดตามผล/หนุนเสริม โดย คปจ.สงขลา ทุกเดือน
4.เปิดเวที สภาพลเมืองระดับอำเภอ ตามปฏิทิน
5.ประเมินผลระหว่างดำเนินการ เมื่อจัด เวทีสภาพลเมือง
6.เปิดเวที ตามแผนการถอดบทเรียน ต่อไป ทั้งนี้เนื้อหาในพื้นที่ เปิดใหม่ ต้องมีเรื่องการทำแผนพัฒนาการเมืองสู่การปฏิบัติ
7.เปิดเวที เครือข่ายสภาพลเมืองสงขลา เพื่อประเมินผล สรุปผล
ตุลาคม 2558 – สิงหาคม 2559
1.สรุปผลการดำเนินงาน เวทีโดย คปจ.สงขลา ทุก 1 เดือน
2.ประเมินผลจากการที่สภาพลเมืองมีแผนการขับเคลื่อนสภาต่อไป หรือไม่
3.ประเมินผลการจัดทำข้อเสนอ/มีส่วนร่วมต่อการปฏิรูปร่วมกับ สปท.
4.ประเมินผลจากการเผยแพร่ รัฐธรรมนูญ
5.ประเมินผลการมีส่วนร่วมเรื่อง แผนพัฒนาการเมือง
1.เกิดสภาพลเมืองเป็นรูปธรรม 10 อำเภอ
2.เกิดวัฒนธรรมการมีส่วนร่วม ทางด้านการเมือง ตามวิถีวัฒนธรรมในระบอบประชาธิปไตย
3.แผนพัฒนาการเมืองเป็นเครื่องมือของพลเมือง ในการจัดการตนเอง ด้านการเมืองภาคพลเมือง